มันสำปะหลังใบเหลือง มันสำปะหลังใบเหลืองซีด เป็นอาการบ่งชี้ว่า มันสำปะหลังขาดธาตุอาหาร

3 เรืองสำคัญหลักๆ ที่ก่อให้เกิดโรคในมันสำปะหลัง ส่งผลให้ผลผลิตลดลง

1. มันสำปะหลังอ่อนแอต่อการเกิดโรค

2. ความรุนแรงของเชื้อโรค ที่เป็นโรคศัตรูพืชของมันสำปะหลัง

3. สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเกิดโรค เช่น อุณหภูมิ ความชื้น ความเป็นกรด ความเป็นด่างของดิน และปัจจัยอื่นๆอีกมาก

หากมันสำปะหลังอ่อนแอ ไม่สมบูรณ์แข็งแรง โรคพืช ก็จะเข้าโจมตีมันสำปะหลังได้รุนแรงมากขึ้น แมลงศัตรูพืชก็เช่นกัน ยิ่งหากประกอบด้วยสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม สภาพอาการที่เหมาะสมต่อการเกิดโรค จะยิ่งทวีความรุนแรงของโรค ที่จะสร้างความเสียหายต่อมันสำปะหลังได้ อันนี้เป็นสาเหตุให้ผลผลิตของมันสำปะหลังที่ได้ในแต่ละครอปลดน้อยลงไปอย่างมาก

หากเราสังเกตุเห็นใบของมันสำปะหลัง มีอาการใบเหลือง หรือใบซีด เกิดเป็นหย่อมๆ เป็นลักษณะของการขาดธาตุอาหารของมันสำปะหลัง เมื่อมันสำปะหลังขาดธาตุ จะขาดความสมบูรณ์แข็งแรง มันสำปะหลังจะอ่อนแอต่อโรค และไม่มีภูมิต้านทานแมลงศัตรูพืชต่างๆ โรคต่างๆที่เกิดจากเชื้อรา ก็ติดมันสำปะหลังได้ง่าย เช่นโรคใบไหม้ โรคใบเหี่ยว โรคใบด่าง

 

มันสำปะหลังขาดธาตุอะไร สังเกตุเบื้องต้นได้!

มันสำปะหลังใบเหลือง ซีด โตช้ากว่าปกติ หรือชะงักการเจริญเติบโต สันนิษฐานว่า มันสำปะหลังขาดธาตุไนโตรเจน

ใบมันสำปะหลังเหลืองตามเส้นใบ มีอาการตายเฉพาะจุด สันนิษฐานว่า มันสำปะหลังขาดธาตุเหล็ก หรือ มันสำปะหลังขาดธาตุโปแตสเซียม

ตายเฉพาะส่วนในใบใหม่ของมันสำปะหลัง มันสำปะหลังชะงักการเติบโต สันนิษฐานว่า มันสำปะหลังขาดธาตุโบรอน

มีจุดด่างบนใบมันสำปะหลัง มีสีใบผิดเพี้ยน สันนิษฐานว่า มันสำปะหลังขาดธาตุแมงกานิส

ใบมันสำปะหลังชะงักการเจริญเติบโต(ในส่วนของใบ๗ สันนิษฐานว่า มันสำปะหลังขาดธาตุสังกะสี

 

สารอาหารที่จำเป็นสำหรับพืช สามารถแบ่งตามปริมาณที่ปรากฏในเนื้อเยื่อพืช ได้เป็น

1. ธาตุอาหารหลัก (primary macronutrients) ได้แก่ ไนโดรเจน (N), ฟอสฟอรัส (P), และ โพแทสเซียม (K)

2. ธาตุอาหารรอง (secondary macronutrients) ได้แก่ แคลเซียม (Ca),แมกนีเซียม (Mg), และ ซัลเฟอร์(กำมะถัน) (S)

3. ธาตุรอาหารเสริม (micronutrients) ได้แก่ แมงกานีส (Mn),คอปเปอร์ (ทองแดง) (Cu),คลอรีน (Cl), เฟอรัส (เหล็ก) (Fe), โบรอน (B), ซิงค์ (สังกะสี) (Zn), โมลิบดินัม (Mo)

 

มันสำปะหลังเจริญเติบโตแข็งแรงได้ บำรุงให้ถูกช่วง

จะทำให้ต้านทานต่อโรค และแมลงศัตรูพืช เจริญเติบโตเร็ว มีความสมบูรณ์ แข็งแรง ต้องให้ปุ๋ยที่มีสารอาหารครบถ้วน ประกอบด้วย ธาตุหลัก ที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช และต้องมี ธาตุรอง ธาตุเสริม ที่จะเสริมสร้างความสมบูรณ์ แข็งแรงให้กับมันสำปะหลัง เพื่อให้ต้นมันสำปะหลัง ต้านทานต่อโรคและแมลง

 

สำหรับมันสำปะหลังระยะงอก จนถึงมีอายุ 3 เดือน ฉีดพ่นด้วยปุ๋ยน้ำ FK-1 (เอฟเค-1) ที่ประกอบด้วยธาตุหลัก N-P-K = 20-20-20 ซึ่งมี ไนโตรเจน 20% ฟอสฟอรัส 20% โปแตสเซียม 20% ซึ่งสูงเพียงพอต่อความต้องการของมันสำปะหลัง เพื่อใช้ในการเร่งการเจริญเติบโต และยังประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม ต่างๆข้างต้นที่ได้กล่าวมา เพื่อเสริมสร้างภูมิต้านทานต่อโรค และแมลงศัตรูมันสำปะหลัง ทำให้มันสำปะหลังเจริญเติบโต สมบูรณ์ แข็งแรง 

สำหรับมันสำปะหลังระยะการเจริญเติบโต (Grand Growth Phase) ประมาณเดือนที่ 3 จนถึงเดือนที่ 6  ฉีดพ่นด้วยปุ๋ยน้ำ FK-3C (เอฟเค-3ซี) ที่ประกอบด้วยธาตุหลัก N-P-K = 5-10-40 ซึ่งมี ไนโตรเจน 5% ฟอสฟอรัส 20% โปแตสเซียม 40% จะสังเกตุได้ว่า เน้นหลักที่ธาตุโปแตสเซียม มากว่าธาตุอื่นๆ เพระโปแตสเซียมนี้ จะช่วยส่งเสริมกระบวนการเคลื่อนย้ายแป้งและน้ำตาล ไปสะสมเป็นหัวมันสำปะหลัง จะทำให้มันสำปะหลังมีคุณภาพดี มีน้ำหนักดี มีเปอร์เซ็นต์แป้งที่สูงขึ้น และยังประกอบด้วย ธาตุรอง ธาตุเสริม เพื่อเสริมสร้างภูมิต้านทานต่อโรค และแมลงศัตรูมันสำปะหลัง ทำให้มันสำปะหลังเจริญเติบโต สมบูรณ์ แข็งแรง 

 

ปุ๋ยน้ำเข้มข้น FK-1 บำรุงต้น เร่งการเจริญเติบโต

 

ปุ๋ยน้ำ FK-3S มันสำปะหลังหัวโต เปอร์เซ็นแป้งสูง น้ำหนักดี

 

Planting

Cassava comes in two main varieties: “bitter” and “sweet.” Because of its higher yield, sweet cassava is most often used as a food crop, though bitter can be consumed as well. The plant is started in spring with cuttings or clones from a mature plant stem, 3 to 12 inches long and buried top-up in tilled, amended soil with half the cutting exposed to the air. Because cassava is not often grown in the United States, look for cuttings online or at a specialty store.

Growth

Cassava grows best in full sun or part shade, with moderate watering throughout the growing season. Since it follows a traditional schedule of spring planting, summer growth and fall harvest, it is susceptible to weeds and must be carefully tended until it is large enough to shade out competitors. Before being cooked, the tuber — as well as stems and leaves — is poisonous to humans and animals and should not be consumed.

Maturity

Because roots can be harvested, cooked and eaten as soon as they form, there is technically no such thing as a “mature” cassava. However, the roots tend to be big enough around nine months after planting. Early cultivars can be ready in as soon as six or seven months, while you can leave cassava in the ground to overwinter in frostless regions for as long as 16 months.

Harvesting

Waiting too long before harvesting cassava roots results in an unpleasant or woody-tasting product, so refrain from going much past the 12-month mark. The easiest method of harvest is to cut stems and leaves down to ground level a week or two before pulling the roots from the ground. If you want to propagate your cassava, leave a few bushes undisturbed, as the cuttings need to be fresh for planting each year.

 

อ้างอิงจาก

kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php? book=7&chap=4&page=t7-4-infodetail01.html

th.wikipedia.org/wiki/สารอาหารสำหรับพืช

homeguides.sfgate.com/growth-period -cassava-plant-64334.html

 

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *